มิวเซียมลำปาง
เกิดจากความร่วมมือของเทศบาลนครลำปาง ร่วมกับสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
(องค์การมหาชน) โดยสถาบันพิพิธภัณฑ์ การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.)
และเครือข่ายภาคประชาชนจังหวัดลำปาง ได้ทำบันทึกตกลงความร่วมมือการดำเนินงานโครงการพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้เมืองลำปาง
เมื่อวันที่ 15 มี.ค. 54
โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา
ได้มีการร่วมกันคนลำปางได้ช่วยกันคิดคอนเซ็ปและแก่นความคิดของมิวเซียมลำปาง
จนพบว่าลำปางมีลักษณะเฉพาะตัว
สิ่งที่ปรากฏในชุดนิทรรศการจะต้องบ่งบอกสิ่งที่เป็นลำปางอย่างแท้จริง
ภายใต้คอนเซ็ป “ลำปางแต๊ก่ะ”
รูปแบบการนำเสนอของมิวเซียมลำปาง จะเป็นการนำเสนอแบบดิสคัฟเวอรี่มิวเซียม
คือ สร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นความอยากรู้ของประชาชน
เด็กจะเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักที่จะเข้ามาดูและได้สนุกสนานกับเรื่องราวต่างๆของ
จ.ลำปาง
โดยบนพื้นที่ชั้น
2 ทั้งหมด 600 ตารางเมตร ได้แบ่งเป็นเรื่องราวของ คน
เมือง และลำปาง
พื้นที่แรกขึ้นบันไดจากชั้นล่างจะพบส่วนโถงตรงกลางเป็นห้องแรก
เป็นเรื่องราวของคนแต่ละรุ่นของลำปาง
ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องและเปลี่ยนแปลงลำปางอย่างไร โดยมีภาพเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว
มีภาพของบุคคลที่เกี่ยวข้องปรากฏตัวขึ้น เป็นต้น
ส่วนที่ 2 เป็นเรื่องของตำนานลำปาง
คัดจากเรื่องที่มีส่วนสำคัญในการพัฒนาลำปางจนถึงทุกวันนี้ โดยเล่าเรื่องจากภาพสื่อเทคโนโลยี จากห้องตำนานจะเป็นห้องเมืองลำปางรุ่นที่ 1 ภายใต้อิทธิพลของหริภุญไชย ตามด้วยลำปางรุ่นที่ 2
เกี่ยวพันกับวัดปงสนุก และการอพยพคนมาจากเชียงแสน
ลำปางรุ่นที่ 3 การเปลี่ยนแปลงลำปางอย่างมโหฬาร
จำลองการค้าไม้จากกาดกองต้า
จากนั้นจะมาถึงจุดเปลี่ยนของลำปางในยุคปัจจุบัน
โดยใช้ไก่เป็นตัวนำเสนอในแต่ละช่วงเวลา
โดยจัดเป็นห้องทรานซิชั่น เปลี่ยนจากลำปางยุคเก่ามาเป็นลำปางยุคใหม่
ตั้งแต่สมัยรถไฟมาเป็นรถม้าในปัจจุบัน และอีกจุดที่สำคัญคือวัดพม่าในลำปาง
วัดลำปาง ภูมิปัญญาลำปาง สำเนียงลำปาง รวมของดีของเด่น และห้องคำถามทดสอบคนที่เข้าชมให้มีส่วนร่วมทั้ง
ซึ่งทั้ง 12 เดือนจะมีการจัดกิจกรรมทุกเดือน เพื่อให้มิวเซียมไม่หยุดนิ่ง
มีความน่าสนใจให้ค้นพบอยู่ตลอดเวลา
สำหรับความคืบหน้าในการดำเนินการมิวเซียมลำปาง
นายกิตติภูมิ นามวงค์ นายกเทศมนตรีนครลำปาง กล่าวว่า โครงการพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้
หรือมิวเซียมลำปาง คืบหน้าไปมากแล้ว มีงบประมาณ 2 ส่วน ซึ่งส่วนของเทศบาลได้ดำเนินการเกือบเสร็จหมดแล้ว และส่วนนิทรรศการที่ใช้งบของสถาบันการเรียนรู้
(สบร.) ก็มีความคืบหน้าพอสมควร ซึ่งเดิมได้กำหนดไว้ว่าจะเปิดให้บริการในเดือน ม.ค.60 แต่เพื่อให้มีความเรียบร้อยก่อนเปิดให้ประชาชนได้เข้าชม
และให้มีความพร้อมเต็มที่ จึงได้เลื่อนการเปิดดำเนินการไปเป็นเดือน ส.ค.60 เพื่อให้โครงการสมบูรณ์ที่สุด
รองรับประชาชนและนักท่องเที่ยวที่จะทยอยเข้ามา
“ตามกำหนดเดิมยืนยันว่าจะเปิดเดือน
ส.ค. 60 งานของเทศบาลเองเหลือการตกแต่งเฟอร์นิเจอร์กับวอลเปเปอร์ภายใน
ส่วนระบบลิฟต์และระบบเครื่องปรับอากาศติดตั้งแล้ว ด้าน
สบร.ก็ได้ผู้รับเหมาเริ่มดำเนินการประกอบนิทรรศการในเรื่องของการนำเสนอนิทรรศการถาวรชั้น
2 ทั้งหมดแล้ว
เมื่อเสร็จแล้วก็สามารถยกเข้ามาประกอบด้านในได้เลย” นายกิตติภูมิ
กล่าว
ส่วนการขอรับบริจาคของเก่าที่จะนำมาจัดแสดงภายในมิวเซียมลำปาง
นายกิตติภูมิ กล่าวว่า มีคนลำปางที่มีของเก่านำมาบริจาคจำนวนหนึ่ง ซึ่งได้รับความร่วมมือพอสมควร
บางส่วนยังฝากไว้ที่เจ้าของเดิม และบางส่วนก็นำส่งให้เทศบาลดูแลรักษาแล้ว
กิตติภูมิ
ยันมิวเซียมลำปางพร้อมเปิดเดือนสิงหานี้ หลังดำเนินการมาร่วม 7 ปี สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้รับผิดชอบนิทรรศการชั้น
2 ผู้รับเหมาอยู่ระหว่างการประกอบงาน
และนำเข้าจัดในพื้นที่จริง
มิวเซียมลำปาง
เกิดจากความร่วมมือของเทศบาลนครลำปาง ร่วมกับสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
(องค์การมหาชน) โดยสถาบันพิพิธภัณฑ์ การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.)
และเครือข่ายภาคประชาชนจังหวัดลำปาง ได้ทำบันทึกตกลงความร่วมมือการดำเนินงานโครงการพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้เมืองลำปาง
เมื่อวันที่ 15 มี.ค. 54
โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา
ได้มีการร่วมกันคนลำปางได้ช่วยกันคิดคอนเซ็ปและแก่นความคิดของมิวเซียมลำปาง
จนพบว่าลำปางมีลักษณะเฉพาะตัว
สิ่งที่ปรากฏในชุดนิทรรศการจะต้องบ่งบอกสิ่งที่เป็นลำปางอย่างแท้จริง
ภายใต้คอนเซ็ป “ลำปางแต๊ก่ะ”
รูปแบบการนำเสนอของมิวเซียมลำปาง จะเป็นการนำเสนอแบบดิสคัฟเวอรี่มิวเซียม
คือ สร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นความอยากรู้ของประชาชน
เด็กจะเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักที่จะเข้ามาดูและได้สนุกสนานกับเรื่องราวต่างๆของ
จ.ลำปาง
โดยบนพื้นที่ชั้น
2 ทั้งหมด 600 ตารางเมตร ได้แบ่งเป็นเรื่องราวของ คน
เมือง และลำปาง
พื้นที่แรกขึ้นบันไดจากชั้นล่างจะพบส่วนโถงตรงกลางเป็นห้องแรก
เป็นเรื่องราวของคนแต่ละรุ่นของลำปาง
ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องและเปลี่ยนแปลงลำปางอย่างไร โดยมีภาพเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว
มีภาพของบุคคลที่เกี่ยวข้องปรากฏตัวขึ้น เป็นต้น
ส่วนที่ 2 เป็นเรื่องของตำนานลำปาง
คัดจากเรื่องที่มีส่วนสำคัญในการพัฒนาลำปางจนถึงทุกวันนี้ โดยเล่าเรื่องจากภาพสื่อเทคโนโลยี จากห้องตำนานจะเป็นห้องเมืองลำปางรุ่นที่ 1 ภายใต้อิทธิพลของหริภุญไชย ตามด้วยลำปางรุ่นที่ 2
เกี่ยวพันกับวัดปงสนุก และการอพยพคนมาจากเชียงแสน
ลำปางรุ่นที่ 3 การเปลี่ยนแปลงลำปางอย่างมโหฬาร
จำลองการค้าไม้จากกาดกองต้า
จากนั้นจะมาถึงจุดเปลี่ยนของลำปางในยุคปัจจุบัน
โดยใช้ไก่เป็นตัวนำเสนอในแต่ละช่วงเวลา
โดยจัดเป็นห้องทรานซิชั่น เปลี่ยนจากลำปางยุคเก่ามาเป็นลำปางยุคใหม่
ตั้งแต่สมัยรถไฟมาเป็นรถม้าในปัจจุบัน และอีกจุดที่สำคัญคือวัดพม่าในลำปาง
วัดลำปาง ภูมิปัญญาลำปาง สำเนียงลำปาง รวมของดีของเด่น และห้องคำถามทดสอบคนที่เข้าชมให้มีส่วนร่วมทั้ง
ซึ่งทั้ง 12 เดือนจะมีการจัดกิจกรรมทุกเดือน เพื่อให้มิวเซียมไม่หยุดนิ่ง
มีความน่าสนใจให้ค้นพบอยู่ตลอดเวลา
สำหรับความคืบหน้าในการดำเนินการมิวเซียมลำปาง
นายกิตติภูมิ นามวงค์ นายกเทศมนตรีนครลำปาง กล่าวว่า โครงการพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้
หรือมิวเซียมลำปาง คืบหน้าไปมากแล้ว มีงบประมาณ 2 ส่วน ซึ่งส่วนของเทศบาลได้ดำเนินการเกือบเสร็จหมดแล้ว และส่วนนิทรรศการที่ใช้งบของสถาบันการเรียนรู้
(สบร.) ก็มีความคืบหน้าพอสมควร ซึ่งเดิมได้กำหนดไว้ว่าจะเปิดให้บริการในเดือน ม.ค.60 แต่เพื่อให้มีความเรียบร้อยก่อนเปิดให้ประชาชนได้เข้าชม
และให้มีความพร้อมเต็มที่ จึงได้เลื่อนการเปิดดำเนินการไปเป็นเดือน ส.ค.60 เพื่อให้โครงการสมบูรณ์ที่สุด
รองรับประชาชนและนักท่องเที่ยวที่จะทยอยเข้ามา
“ตามกำหนดเดิมยืนยันว่าจะเปิดเดือน
ส.ค. 60 งานของเทศบาลเองเหลือการตกแต่งเฟอร์นิเจอร์กับวอลเปเปอร์ภายใน
ส่วนระบบลิฟต์และระบบเครื่องปรับอากาศติดตั้งแล้ว ด้าน
สบร.ก็ได้ผู้รับเหมาเริ่มดำเนินการประกอบนิทรรศการในเรื่องของการนำเสนอนิทรรศการถาวรชั้น
2 ทั้งหมดแล้ว
เมื่อเสร็จแล้วก็สามารถยกเข้ามาประกอบด้านในได้เลย” นายกิตติภูมิ
กล่าว
ส่วนการขอรับบริจาคของเก่าที่จะนำมาจัดแสดงภายในมิวเซียมลำปาง
นายกิตติภูมิ กล่าวว่า มีคนลำปางที่มีของเก่านำมาบริจาคจำนวนหนึ่ง ซึ่งได้รับความร่วมมือพอสมควร
บางส่วนยังฝากไว้ที่เจ้าของเดิม และบางส่วนก็นำส่งให้เทศบาลดูแลรักษาแล้ว
กิตติภูมิ
ยันมิวเซียมลำปางพร้อมเปิดเดือนสิงหานี้ หลังดำเนินการมาร่วม 7 ปี สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้รับผิดชอบนิทรรศการชั้น
2 ผู้รับเหมาอยู่ระหว่างการประกอบงาน
และนำเข้าจัดในพื้นที่จริง
มิวเซียมลำปาง
เกิดจากความร่วมมือของเทศบาลนครลำปาง ร่วมกับสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
(องค์การมหาชน) โดยสถาบันพิพิธภัณฑ์ การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.)
และเครือข่ายภาคประชาชนจังหวัดลำปาง ได้ทำบันทึกตกลงความร่วมมือการดำเนินงานโครงการพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้เมืองลำปาง
เมื่อวันที่ 15 มี.ค. 54
โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา
ได้มีการร่วมกันคนลำปางได้ช่วยกันคิดคอนเซ็ปและแก่นความคิดของมิวเซียมลำปาง
จนพบว่าลำปางมีลักษณะเฉพาะตัว
สิ่งที่ปรากฏในชุดนิทรรศการจะต้องบ่งบอกสิ่งที่เป็นลำปางอย่างแท้จริง
ภายใต้คอนเซ็ป “ลำปางแต๊ก่ะ”
รูปแบบการนำเสนอของมิวเซียมลำปาง จะเป็นการนำเสนอแบบดิสคัฟเวอรี่มิวเซียม
คือ สร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นความอยากรู้ของประชาชน
เด็กจะเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักที่จะเข้ามาดูและได้สนุกสนานกับเรื่องราวต่างๆของ
จ.ลำปาง
โดยบนพื้นที่ชั้น
2 ทั้งหมด 600 ตารางเมตร ได้แบ่งเป็นเรื่องราวของ คน
เมือง และลำปาง
พื้นที่แรกขึ้นบันไดจากชั้นล่างจะพบส่วนโถงตรงกลางเป็นห้องแรก
เป็นเรื่องราวของคนแต่ละรุ่นของลำปาง
ว่ามีส่วนเกี่ยวข้องและเปลี่ยนแปลงลำปางอย่างไร โดยมีภาพเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว
มีภาพของบุคคลที่เกี่ยวข้องปรากฏตัวขึ้น เป็นต้น
ส่วนที่ 2 เป็นเรื่องของตำนานลำปาง
คัดจากเรื่องที่มีส่วนสำคัญในการพัฒนาลำปางจนถึงทุกวันนี้ โดยเล่าเรื่องจากภาพสื่อเทคโนโลยี จากห้องตำนานจะเป็นห้องเมืองลำปางรุ่นที่ 1 ภายใต้อิทธิพลของหริภุญไชย ตามด้วยลำปางรุ่นที่ 2
เกี่ยวพันกับวัดปงสนุก และการอพยพคนมาจากเชียงแสน
ลำปางรุ่นที่ 3 การเปลี่ยนแปลงลำปางอย่างมโหฬาร
จำลองการค้าไม้จากกาดกองต้า
จากนั้นจะมาถึงจุดเปลี่ยนของลำปางในยุคปัจจุบัน
โดยใช้ไก่เป็นตัวนำเสนอในแต่ละช่วงเวลา
โดยจัดเป็นห้องทรานซิชั่น เปลี่ยนจากลำปางยุคเก่ามาเป็นลำปางยุคใหม่
ตั้งแต่สมัยรถไฟมาเป็นรถม้าในปัจจุบัน และอีกจุดที่สำคัญคือวัดพม่าในลำปาง
วัดลำปาง ภูมิปัญญาลำปาง สำเนียงลำปาง รวมของดีของเด่น และห้องคำถามทดสอบคนที่เข้าชมให้มีส่วนร่วมทั้ง
ซึ่งทั้ง 12 เดือนจะมีการจัดกิจกรรมทุกเดือน เพื่อให้มิวเซียมไม่หยุดนิ่ง
มีความน่าสนใจให้ค้นพบอยู่ตลอดเวลา
สำหรับความคืบหน้าในการดำเนินการมิวเซียมลำปาง
นายกิตติภูมิ นามวงค์ นายกเทศมนตรีนครลำปาง กล่าวว่า โครงการพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้
หรือมิวเซียมลำปาง คืบหน้าไปมากแล้ว มีงบประมาณ 2 ส่วน ซึ่งส่วนของเทศบาลได้ดำเนินการเกือบเสร็จหมดแล้ว และส่วนนิทรรศการที่ใช้งบของสถาบันการเรียนรู้
(สบร.) ก็มีความคืบหน้าพอสมควร ซึ่งเดิมได้กำหนดไว้ว่าจะเปิดให้บริการในเดือน ม.ค.60 แต่เพื่อให้มีความเรียบร้อยก่อนเปิดให้ประชาชนได้เข้าชม
และให้มีความพร้อมเต็มที่ จึงได้เลื่อนการเปิดดำเนินการไปเป็นเดือน ส.ค.60 เพื่อให้โครงการสมบูรณ์ที่สุด
รองรับประชาชนและนักท่องเที่ยวที่จะทยอยเข้ามา
“ตามกำหนดเดิมยืนยันว่าจะเปิดเดือน
ส.ค. 60 งานของเทศบาลเองเหลือการตกแต่งเฟอร์นิเจอร์กับวอลเปเปอร์ภายใน
ส่วนระบบลิฟต์และระบบเครื่องปรับอากาศติดตั้งแล้ว ด้าน
สบร.ก็ได้ผู้รับเหมาเริ่มดำเนินการประกอบนิทรรศการในเรื่องของการนำเสนอนิทรรศการถาวรชั้น
2 ทั้งหมดแล้ว
เมื่อเสร็จแล้วก็สามารถยกเข้ามาประกอบด้านในได้เลย” นายกิตติภูมิ
กล่าว
ส่วนการขอรับบริจาคของเก่าที่จะนำมาจัดแสดงภายในมิวเซียมลำปาง
นายกิตติภูมิ กล่าวว่า มีคนลำปางที่มีของเก่านำมาบริจาคจำนวนหนึ่ง ซึ่งได้รับความร่วมมือพอสมควร
บางส่วนยังฝากไว้ที่เจ้าของเดิม และบางส่วนก็นำส่งให้เทศบาลดูแลรักษาแล้ว
(หนังสือพิมพ์ลานนาโพสต์ ฉบับที่ 1131 วันที่ 2-8 มิถุนายน 2560)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น