ดอยแม่แจ๋ม ตำบลแจ้ซ้อน อำเภอเม ืองปานจังหวัดลำปางแม้จะเป็ นอำเภอเล็กๆแต่มีพื้นที่ภูเขาที ่มีชาวบ้าน
ไทยภูเขาอาศัยอยู่ หลายชนเผ่าที ่สำคัญดอยแม่แจ๋มแห่งนี้เป็ นแหล่งเพาะปลูกกาแฟสายพันธ์ อาราบิก้าคุณภาพดีเป็นพื ชเศรษฐกิจสำคัญ
ชาวบ้านปลูกกันมากว่า 20 ปีโดยการส่งเสริ มจากโครงการหลวงในพระราชดำริ
ซึ่งกาแฟที่นี่มีจุดเด่นและมีชื ่อเสียงในเรื่องของเกษตรอินทรี ย์
ไม่มีสารพิษ เพราะคนที่นี่อาศัยน้ำประปาภู เขาดื่มกิน
เมล็ดกาแฟจากดอยแม่แจ๋มจึงมี รสชาติดีไม่แพ้กาแฟจากแหล่งใดใน โลก
จากต้นกำเนิดของเมล็ดกาแฟอาราบิ ก้าคุณภาพดี
ถูกนำมาแปรรูปเป็นกาแฟคั่ วหอมกรุ่น ภายใต้ชื่อ"กาแฟบรู โน" (CAFE ‘ BRUNO) ผลิตภัณฑ์ชื่อฝรั่งแต่มี แหล่งที่มาจากโครงการเล็กๆในบ้ านนอกเพียงเพื่อหารายได้เป็นทุ นการศึกษาแก่เด็กด้อยโอกาส พื้ นที่อำเภอแจ้ห่ม วังเหนือ และอำเภอเมืองปาน
โดยการริเริ่มของคุณพ่อ BRUNO ROSSI บาทหลวงชาวอิตาลี่แห่งวั ดคาทอลิก
ศูนย์แม่พระราชินีแห่งสันติภาพ (REGINA PACIS) อำเภอแจ้ห่ม
จังหวัดลำปาง ซึ่งเป็นศูนย์อุปการะเด็กด้ อยโอกาสด้านการศึกษา ปัจจุบันมี นักเรียนในโครงการ ที่อาศัยอยู่ในหอพักของศูนย์ฯ ประมาณ 800
คน และ บางส่วนอาศัยอยู่กับครอบครัว รวมแล้วประมาณ 1,500 คนมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสู งและมีนักเรียนในโครงการเพิ่มขึ ้นทุกปี บาทหลวง BRUNO ROSSI จึงคิดโครงการจัดหาทุ นการศึกษาขึ้นมาสักโครงการหนึ่ง
กระทั่งมีผู้ปกครองของเด็กนั กเรียนที่อยู่บนดอยแม่แจ๋ม ฝากเมล็ดกาแฟที่ปลู กบนดอยลงมาให้
จึงได้นำเมล็ดกาแฟนั้นติดมือกลั บไปยังประเทศอิตาลี่บ้านเกิด
และให้เพื่อนที่มีโรงคั่ วกาแฟทดลองนำไปคั่ว บด
ปรากฏว่าได้กาแฟสดที่มีกลิ่นหอม รสชาติดีเทียบเท่ารสชาติกาแฟดั งในอิตาลี่
จึงริเริ่มศึกษาและตั้ง"โครงการ กาแฟบรูโน" ขึ้นเพื่อหารายได้ สมทบกองทุนการศึกษาแก่เด็กนั กเรียน
โดยได้รับการสนับสนุนจากกลุ่ มเพื่อน ในประเทศอิตาลี่
ในการจัดส่งเครื่องคั่วกาแฟดั้ งเดิมของอิตาลี่ ขนาดกำลังการผลิต 30 กิโลกรัม เข้ามามาใช้ในกระบวนการผลิต
เครื่องคั่วกาแฟแบบอิตาลี่ถู กออกแบบมาให้คั่วเมล็ดกาแฟให้ ได้อุณหภูมิที่เหมาะสม
ประกอบกับเมล็ดกาแฟที่ดอยแม่แจ๋ ม มีคุณภาพเพราะพื้นที่ปลูกเป็นภู เขาที่ภูมิอากาศเอื้อต่อการปลู กกาแฟ
เมื่อผ่านกรรมวิธีการด้วยเครื่ องจักรและสูตรการคั่วแบบอิตาลี่
ปรับสูตรการคั่วไม่ให้อ่อนมาก หรือไหม้จนเกินไปแบบกาแฟของอิ ตาลี่
จึงได้กาแฟที่มีรสชาติดีที่สุดแ ละด้วยความโดดเด่นของสูตรการคั่ วกาแฟทำให้ CAFE
‘ BRUNO มีชื่อติดอันดับกาแฟระดั บโลก จากรางวัลเหรียญทอง ในการป ระกวดกาแฟระดับโลก
" International Coffee Testing Gold Medal Espresso
Italiano"(เมื่อวันที่ 24 ตุ ลาคม 2557 ) ประเภทกาแฟแบบ Sing le Origin คือมีแหล่งวัตถุดิ บจากแหล่งเดียว
ที่อิตาลีดินแดนที่มีชื่อเสี ยงด้านกาแฟของโลก
ซึ่งมีนักดื่ มกาแฟจากหลายประเทศทั่วโลกเป็ นคณะกรรมการ
มีกาแฟดีเกือบ 20 ประเทศเข้าร่วมแข่งขัน
เป็นเครื่องหมายของการการันตีคุ ณภาพและความภาคภูมิใจของก
กาแฟสัญชาติไทยรสชาติแบบอิตาเลี ่ยนสไตล์ "
ในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการตลาดนั้น
คุณพ่อ BRUNO เล่าว่า หลั งจากประสบความสำเร็จเรื่องสู ตรกาแฟแล้ว ทางโครงการฯได้รั บการสนับสนุนจากอาสาสมัครหลายฝ่ ายช่วยดูแลออกแบบบรรจุภัณฑ์
ให้ได้มาตรฐาน แบ่งผลิตภัณฑ์ ออกเป็น 2 สูตร คือ Espresso Italiano สำหรับผู้ชอบดื่ มกาแฟร้อนแบบ Espresso และ สูตรสำหรับชงกาแฟเย็น เอาใจคอกาแฟไทย โดยทั้ง 2 สูตร
ขายทั้งชนิดเมล็ดกาแฟคั่ว และกาแฟคั่วบดสำเร็จรูป
เบื้องต้นขายส่งให้กับลูกค้ากลุ ่มเพื่อน
และคนที่รู้จักในเครือข่ ายอาสาสมัครและผู้อุ ปการะโครงการ
ซึ่งรับซื้อกาแฟไปขายในร้านกาแฟ ในกรุงเทพ และต่างจังหวัด รวมถึงร้านกาแฟในจังหวั ดลำปางหลายแห่ง
นอกจากนี้ยังมีหน้าร้ านขายกาแฟสด บริเวณด้านหน้าของศูนย์แม่ พระราชินีแห่งสันติภาพ
ตั้งอยู่ติดถนนสายลำปาง แจ้ห่ม เพื่อเป็นจุดขายปลีกและประชาสั มพันธ์ให้คนรู้จัดและทดลองชิ มกาแฟบรูโน
" กาแฟบรูโนเป็นโครงการเล็กๆ
ที่มีส่วนในการเสริมสร้างอาชี พและรายได้ให้กับเกษตรกรบนพื้ นที่สูง กาแฟอาราบิก้าเป็นพื ชเศรษฐกิจปลอดสารพิษและเป็นมิ ตรต่อสิ่งแวดล้อม
เพราะปลูกใต้ร่มไม้ใหญ่ ยิ่งขยายพื้นที่ปลูกก็ยิ่งต้ องเพิ่มต้นไม้ใหญ่
นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์แปรรู ปกาแฟบรูโน เป็นหนทางของการช่วยเหลือเด็กนั กเรียนที่ด้อยโอกาสด้านการศึกษา
กาแฟบรูโนจึงขายในราคาย่อมเยาที ่ไมได้มุ่งหวังผลกำไรมากจนเกิ นไป รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ กาแฟบรูโน ใช้เป็นทุนการศึ กษาแก่เด็กนักเรียนในโครงการศู นย์แม่พระราชินีแห่งสันติภาพ
ในอนาคต จะส่งเสริมให้เด็กนักเรี ยนในโครงการที่ศึกษาจบแล้ว และสนใจประกอบธุรกิจร้านกาแฟ
หรือต่อยอดกาแฟบรูโนในเชิงธุรกิ จในอนาคต กรเริ่มต้นเล็กๆภายใต้ แนวคิดที่ว่า
"เราใส่ความรักและความใส่ใจในทุ กเมล็ด เพื่อสร้างสรรค์กาแฟอิตาเลี่ ยนสไตล์
ในราคาไทย" และนี่อาจจะเป็นกุ ญแจสำคัญในการนำกาแฟบ้ านอกของไทยดังไปทั่วโลก
(หนังสือพิมพ์ลานนาโพสต์ ฉบับที่ 1019 ประจำวันที่ 6 - 12 มีนาคม 2558)